คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบึงสามัคคี จังหวัดกำแพงเพชร
แบบทดสอบวิชา สค0200036 รู้เท่าทันข่าวและFake News
1)  ส่วนใหญ่เรามักพบเจอข่าวปลอมจากสื่อชนิดใด
  โทรทัศน์
  สื่อออนไลน์
  หนังสือพิมพ์
  วิทยุ
   
2)  ข้อใดไม่ใช่ประเภทของข่าวปลอมที่แบ่งประเภทตามองค์กรสนับสนุนการรู้เท่าทันสื่อ
  ทฤษฎีสมคบคิด (Conspiracy theory)
  ข่าวล้อเลียนและเสียดสี (Satire andHoax)
  ข่าวพาดหัว ยั่วให้คลิก หรือ คลิกเบท (Clickbait)
  ข่าวปลอมที่สร้างความเกลียดชัง (Mal-information)
   
3)  ข้อใดไม่ใช่การร่วมมือของภาครัฐและเอกชน ในการป้องกันและแก้ปัญหาข่าวปลอม
  การออกกฎหมายลงโทษของภาครัฐ
  การให้ความรู้และข้อเท็จจริงของภาคประชาสังคม
  การวางนโยบายการใช้งานของผู้เผยแพร่เนื้อหาในสื่อสังคมออนไลน์
  การวิเคราะห์ข่าวสาร
   
4)  ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ผู้อ่านข่าวที่มักหลงเชื่อข่าวปลอม
  ผู้อ่านมีช่วงความสนใจสั้น
  ข่าวปลอมเล่นกับความรู้สึก
  ความคิดและความเชื่อ
  ไม่สามารถแยกแยะข่าวบนหน้าเว็บ
   
5)  ข้อใดคือขั้นตอนในการคัดกรองข่าว
  ตรวจสอบแหล่งที่มา
  ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
  ถามผู้เชี่ยวชาญ
  ถูกทุกข้อ
   
6)  รูปแบบเนื้อหาของข่าวปลอมข้อใดมีระดับความรุนแรงมากที่สุด
  เนื้อหาล้อเลียนเสียดสี (Satire or Parody)
  เนื้อหาที่ผิดบริบท (False Context)
  เนื้อหาหลอกลวง (Manipulated)
  เนื้อหากุขึ้นมา (Fabricated )
   
7)  ถ้านักเรียนจะรู้เท่าทันสื่อโฆษณาควรมีทักษะด้านใด
  ด้านการคิดวิเคราะห์
  ด้านความไวในการรับสื่อ
  ด้านการโฆษณา
  ด้านการอ่าน
   
8)  Fake News หมายถึงอะไร
  ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง มีการบิดเบือนหรือมีเจตนาร้ายแอบแฝง
  ข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่มีการบิดเบือนหรือเจตนาร้ายแอบแฝง
  ข้อมูลที่ไม่มีการปรุงแต่งและกล่าวเกินความเป็นจริง
  ข้อมูลที่มาจากสำนึกพิมพ์ที่ดังและเป็นที่นิยม
   
9)  กระทรวงใดมีหน้าที่รับผิดชอบการป้องกันข่าวปลอม
  กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
  กระทรวงมหาดไทย
  กระทรวงศึกษาธิการ
  กระทรวงยุติธรรม
   
10)  ข้อใดเป็นลักษณะของข่าวปลอม
  มีข้อมูลเท็จ ไม่ว่าจะมีข้อเท็จจริงเพียงบางส่วนหรือปราศจากข้อเท็จจริงเลย
  เนื้อหาของข่าวเป็นเรื่องที่เกิดจริง มีแหล่งข่าวหรือคำพูดที่ตรวจสอบได้
  ไม่ใส่รายละเอียดที่สำคัญต่อเหตุการณ์ลงในเนื้อข่าวหรือนำเสนอจากมุมมองหลายด้าน
  เจตนาที่จะไม่บิดเบือนหรือปิดบังความจริงด้วยการใช้อารมณ์มากกว่าตรรกะ